วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557




                                                                 วันที่  18 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2557

                                             วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

                   EAED2209 เวลา 11.30 - 14.00 น กลุ่มเรียน 101

ความรู้ที่ได้รับ


  • อาจารย์ให้นักศึกษาส่งงานที่ค้าง
  • พูดคุยเรื่องสังเกตการสอน
  • อาจารย์นัดประชุมนักศึกษาปี 1-4  วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557 

วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 11กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557


                                                              วันที่  11 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2557

                                             วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

                   EAED2209 เวลา 11.30 - 14.00 น กลุ่มเรียน 101

ความรู้ที่ได้รับ

                                                           เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ LD

1. การดูแลให้ความช่วยเหลือ

· สร้างความภาคภูมิใจใจตนเอง
· มองหาจุดดีจุดแข็งและให้คำชมอยู่เสมอ
· การเสริมแรงทางบวก
· รู้จักลักษณะของเด็กที่เป็นสัญญาณเตือน
· วางแผนการจัดทำแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกบการเรียนรู้ของเด็ก
· สังเกตความสามารถและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
· IEP ( ทำกับเด็กแค่คนเดียว )

2. การรักษาด้วยยา

· Ritalin
· Dexedrine
· Cylext

หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ

· สศศ. สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ
· มีหน้าที่ช่วยเหลือประสานงานและส่งตัวเด็ก
· โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
· ศูนย์การศึกษาพิเศษ Early Intervention ย่อมาจาก EI
· โรงเรียนเฉพาะความพิการ
· สถาบันราชานุกูล

วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557


                                                          วันที่  4  กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2557


                                          วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

                                          EAED2209 เวลา 11.30 - 14.00 น กลุ่มเรียน 101


ความรู้ที่ได้รับ

Down ' s. syndrome

  • รักษาตามอาการ 
  •  แก้ไขความบกพร่องที่พบร่วมกัน
  • ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน 
  •   เน้นการดูแลแบบองค์รวม
1. ด้านสุขภาพอนามัย
  • บิดามารดาพาบุตรไปพบแพทย์ตั้งแต่แรกเกิด
2. ด้านส่งเสริมพัฒนาการ
  • ฝึกได้ถ้าได้รับการฝึกสอน
3. การดำรงชีวิตประจำวัน
  • ฝึกช่วยเหลือตนเอง
4. การฟื้นฟูสมรรถภาพ
  • การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
  • การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการการศึกษา
  • การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
  • ารเลี้ยงดูช่วง 3 เดือนแรก
การปฏิบัติของบิดามารดา
  • ยอมรับความจริง
  • เด็กกลุ่มอาการดาวน์มีพัฒนาการเป็นขั้นตอน
  • ให้ความรักและความอบอุ่น
  • การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูก และเต้านม
  • การคุมกำเนิดและการทำหมัน
  • การสอนเพศศึกษา
  • ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
  • พัฒนาทักษะด้านต่างๆ
  • สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเอง
  • สังคมยอมรับมากขึ้น
  • คุณภาพชีวิตดีขึ้น
ส่งเสริมความแข็งแรงครอบครัว
  • ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุด
ส่งเสริมความสามารถเด็ก

· การส่งเสริมโอกาสให้เด็กได้เล่น
· ทำกิจกรรมที่หลากหลาย

การปรับพฤติกรรมและฝึกษะทางสังคม

· เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสม
· การให้แรงเสริม

การฝึกพูด

· ลดการใช้ภาษที่ไม่เหมาะสม
· ช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าว
· การสื่อความหมายทดแทน AAC
การสื่อความหมายทดแทน Augmentativ and Alternative Communication ; AAC

การส่งเสริมพัฒนาการ

· ให้เด็กมีพัฒนาการเป็นไปตามวัย
· เน้นในเรื่องการมองหน้าสบตา การมีสมาธิ
· ส่งเสริมพัฒนาการด้านอื่นๆ

การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา

· เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม
· แผนการจักการศึกษาเฉพาะบุคคล
· โรงเรียนเรียนร่วม

การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม

· ทักษะในชีวิตประจำวันและการฝึกทักษะสังคม
· ให้เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเอง

การักษาด้วยยา

· Methylphenidte (Ritalin) ช่วยลดอาการไม่นิ่ง ซน หุนหันพลันแล่น ขาดสมาธิ
· Risperidone / Hloperidol ช่วยลดอาการอยู่ไม่นิ่ง หงุดหงิด
· ยาในกลุ่ม Anionrulsant (ยากันชัก) ใช้ได้ผลในรายที่มีพฤติกรรมกับร้ายตัวเอง

การบำบัดทางเลือก

· การสื่อความหมายทดแทน AAC
· ศิลปกรรมบำบัด Art therapy
· ดนตรีบำบัด Music therapy
· การฝังเข็ม Acupuncture
· การบำบัดด้วยสัตว์ Animal therapy
พ่อแม่
· ลูกต้องพัฒนาได้
· เรารักลูกของเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่างไร
· ถ้าเราไม่รักแล้วใครจะรัก
· หยุดไม่ได้
· ดูแลจิตใจและร่างกายของตนเองให้เข้มแข็ง
· ได้กล่าวโทษตนเองหรือคู่สมรส
· ควรหันหน้าปรึกษากันในครอบครัว


วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557


                                                            วันที่  28  มกราคม  พ.ศ. 2557


                                             วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

                   EAED2209 เวลา 11.30 - 14.00 น กลุ่มเรียน 101



ความรู้ที่ได้รับ

         สอบกลางภาค


วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557

วันที่  21  มกราคม  พ.ศ. 2557

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

       EAED2209 เวลา 11.30 - 14.00 น กลุ่มเรียน 101

ความรู้ที่ได้รับ

พัฒนาการ

  • การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆ รวมทั้งตัวบุคคล
  • สามารถทำหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
                                        
 เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ

  • มีพัฒนาการล่าช้ากว่าวัยเดียวกัน
  • มีพัฒนาการล่าช้าด้านใดด้านหนึ่ง  หรือ ด้านเดียวกัน

ปัจจัยส่งผลต่อพัฒนาการเด็ก

-  ทางชีวภาพ
-  สิ่งแวดล้อมก่อนคลอด
-  กระบวนการคลอด
-  สิ่งแวดล้อมหลังคลอด

สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ

  1. โรคพันธุกรรม  มีพัฒนาการล่าช้า  มีความผิดปกติร่วม เช่น ตาบอด หูหนวก
  2. โรคระบบประสาท  เช่น โรคชัก เกิดมากในเด็กพิเศษ 
  3. การติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อในครรภ์แม่ น้ำหนักตัวเล็กตั้งแต่แรกเกิด
  4. ความผิดของเมตาบอลิซึม เป็นโรคปัญหาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
  5. ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด เช่น เกิดก่อนกำหนด
  6. สารเคมี ได้แก่ ตะกั่ว แอลกอฮอล์ นิโคติน
  7. การเลี้ยงดูเด็กไม่เหมาะสมรวมทั้งขาดสารอาหาร
แนวทางการวินิจฉัย  ได้แก่ ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินพัฒนาการ ประเมินเวชปฏิบัติ

แนวทางการดูแลรักษา
  1.  หาสาเหตุที่ทำให้เกิดการบกพร่องทางพัฒนาการ
  2. ตรวจค้นหาความผิดปกติร่วม
  3. รักษาสาเหตุโดยตรง
  4. ส่งเสริมพัฒนาการ
  5. ให้คำปรึกษากับครอบครัว
ขั้นตอนการดูแลเด็กพิเศษ
  1. ตรวจคัดกรองพัฒนาการ
  2. ตรวจประเมินพัฒนาการ
  3. วินิจฉัยหาสาเหตุ
  4. ให้การรักษาและส่งเสริมพัฒนาการ
  5. ติดตามประเมินรักษาเป็นระยะ


วันพุธที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557

วันที่  7  มกราคม  พ.ศ. 2557

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

     EAED2209 เวลา 11.30 - 14.00 น กลุ่มเรียน 101

ความรู้ที่ได้รับ

          สมองพิการ

มี 3 ระยะ  ได้แก่ ก่อน , ระหว่าง , หลัง

มีอาการดังนี้

เกิดความผิดปกติตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป  สังเกตจาการนอนผิดปกติ  แบ่งเป็น 3 กลุ่ม  ดังนี้
  1. กลุ่มแข็งเกร็ง
  2. กลุ่มมีการเคลื่อนไหวเกิดขึ้นเอง
  3. อาการผสมกัน
การดูแลรักษา

ควรได้รับการดูแลรักษาทั้งหมดทุกด้าน เช่น ทางกายภาพบำบัด กระตุ้นการเรียนรู้ การใช้เครื่องอุปกรณ์พิเศษทางกายภาพบำบัด

การรักษาทางกิจกรรมบำบัด
  1. การตรวจประเมิน
  2. การฝึกกลิ่น
การรักษาด้วยยา
  • ยากลุ่ม Diazepam  ช่วยลดอาการเกร็งกล้ามเนื้อระดับหนึ่ง มีผลข้างเคียงคือ ง่วงนอน
  • ยากลุ่ม  Botox  นิยมในปัจจุบัน  ฉีดเข้าไปลดอาการเกร็ง แต่ยาออกฤทธิ์ชั่วคราว
การรักษาด้วยการผ่าตัด  แบ่งดังนี้
  • ผ่าลดอาการตึงกล้ามเนื้อ
  • ผ่าตัดย้ายเอ็น
  • ผ่าตัดกระดูก
การใช้เครื่องมืออุปกรณ์เสริมร่วมกับการรักษา เช่น เฝือกพยุง

การดูแลรักษา
  1. ช่วยเหลือตัวเอง
  2. กระตุ้นการเรียนรู้
  3. จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้ออำนวย
เด็กแอลดี  ผู้ชายเป็นมากกว่าผู้หญิง ประเภท การอ่านและคำนวณ

เด็กสมาธิสั้น แบ่งได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
  1. ซนมากกว่าปกติ
  2. ไม่มีสมาธิ
  3. ขุนหันพันแล่น
วิธีรักษา
  • ช่วยเหลือทางบ้าน
  • เลือกกิจกรรมที่เหมาะสม
  • ทำงานบ้าน
  • สอนแบบค่อยเป็นค่อยไป
  • จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาสม
  • ให้เวลา
  • ช่วยเหลือด้านการเรียน